• มัลติมิเตอร์ Multimeters
  • แคล้มป์มิเตอร์ Clamp Meters
  • เครื่องทดสอบค่าความเป็นฉนวนไฟฟ้า Insulation Testers
  • เครื่องวัดค่าความต้านทานดิน Earth Testers
  • เครื่องวัดความต้านทานลูป Loop/psc/rcd testers
  • เครื่องบันทึกข้อมูลกระแสรั่วไหล Loggers
  • มิเตอร์ทดสอบอเนกประสงค์ Multi Function Testers
  • เครื่องวัดพลังงานไฟฟ้า Power Meters
  • เครื่องทดสอบสถานะทางเฟสไฟฟ้า Phase Testers
  • แคล้มป์เซนเซอร์ Sensors
  • เครื่องวัดแสงแบบดิจิตอล Others
  • ดิจิตอลแคล้มป์มิเตอร์สำหรับวัด New Dc Milliamp Clamp Mete

วิธีการวัดค่าความเป็นฉนวนไฟฟ้า

Kyoritsu Thailand

Kyoritsu

การวัดความเป็นฉนวนไฟฟ้าระหว่างตัวนำไฟฟ้า (แบบ A) การวัดแบบ A เป็นการวัดเพื่อให้แน่ใจระหว่างสายไฟฟ้า 2 เส้นหรือมากกว่า มีค่าความเป็นฉนวนไฟฟ้ามากพอที่จะใช้งานได้อย่างปลอดภัยจากอันตรายที่เดิดจากกระแสไฟฟ้าในการวัด ต้องปลดภาระทางไฟฟ้า (Load) ออกจากระบบที่จะวัด พร้อมทั้งตัดไฟฟ้าในระบบออกทั้งหมดก่อน (โดยปิด Breaker หรือ Cut out ก่อน) แล้วจึงต่อเครื่องวัดเข้ากับระบบ และวัดค่าตามแบบ A

การวัดความเป็นฉนวนไฟฟ้าระหว่างตัวนำไฟฟ้ากับสายดิน (แบบ B) ก่อนจะวัดค่าต้องตัดไฟฟฟ้าในระบบออกให้หมดก่อน แล้วจึงต่อสายวัดของมิเตอร์ทั้ง 2 เส้นเข้ากับระบบดังรูป B ค่าที่วัดได้จะบอกถึงสภาพโดยรวมของสายไฟฟ้าเมื่อเทียบกันระบบสายดินว่าอยู่ในสถาพที่ยังใช้งานได้อยู่หรือไม่

หากอยู่ในสภาพที่เสื่อมคุณภาพ จะเป็นอันตรายแก่ผู้ใช้คือ

  • เกิดกระแสไฟฟ้ารั่วไหล ทำให้สิ้นเปลืองพลังงาน และหากผู้ใช้แตะต้องสายไฟที่ชำรุด ก็จะถูกไฟฟ้าดูดได้ และกากมีการะแสรั่วไหลมาก จะทำให้เกิดความร้านขึ้น แล้วเกิดไฟไหม้ในที่สุด
  • อุณหภูมิที่สุงมากเนื่องจากกระแสรั่วไหล หรือการคายประจุซึ่งอาจทำให้เกิดการลัดวงจรหรือประกายไฟ
  • RCD จะตัดวงจรออกเพื่อป้องกันความเสียหายที่จะเกิดกับตัวอุปกรร์ เนื่องจากการลัดวงจรหรือประกายไฟดังกล่าว

เมื่อเกิดกระแสไฟฟ้ารั่วไหล ต้องป้องกัน RCD จะตัดระบบไฟฟ้าที่รั่วไหลออกจากแหล่่งจ่ายไฟฟ้า เพื่อป้องกันอันตรายที่จะเกิดกับผู้ใช้งานการตรวจจับกระแสรั่วไหลนี้ บ. kyoritsu มีแคล้มป์มิเตอร์ที่สามารถตรวจจับได้ คือ มิเตอร์ใน รุ่น 2412, 2413F, 2417, 2431, 2432, 2433, 2433R และ 2434

วิธีการวัดค่าความเป็นฉนวนไฟฟ้า

  • การวัดค่า True RMS (Root Mean Square: ค่าเฉลี่ยกำลังสอง)

    เมื่อความผิดเพี้ยนของสัญญาณไม่มีผลกระทบต่อกระแสไฟที่โหลด แคล้มป์มิเตอร์ทั้งแบบค่าเฉลี่ย (Average) และแบบค่าจริง (True RMS) จะวัดค่าได้ใกล้เคียงกันมาก คือ ประมาณ 10A โดยมีรูปคลื่นคงตัวดังตัวอย่างข้างบน ดูรายละเอียด >>

    แคล้มป์มิเตอร์คืออะไร?

    แคล้มป์มิเตอร์เป็นเครื่องมือทางไฟฟ้าชนิดเหนึ่ง ซึ่งใช้สำหรับวัดค่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจรได้อย่างรวดเร็ว แม่นยำ โดยไม่ต้องดับไฟหรือหยุดการทำงานของอุปกรณ์ไฟฟ้า ในการวัดกระแสไฟฟ้านั้น หากเราใช้เครื่องมือชนิดอื่น ดูรายละเอียด >>

    แคล้มป์มิเตอร์ทำงานอย่างไร?

    ในกรณีที่เป็นแคล้มป์มิเตอร์ที่ใช้วัดค่ากระแสไฟฟ้ากระแสสลับนั้น เมื่อคล้องมิเตอร์เข้ากัลสายไฟแล้ว ส่วนของปากคีบจะทำหน้าที่ตรวจจับสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นรอบสายไฟฟ้า (เสมือนเป็นหม้อแปลงกระแสไฟฟ้า Current Transformer) ดูรายละเอียด >>

  • หลักการทำงาน AC/DC แคล้มป์มิเตอร์

    ในการวัดกระแสไฟฟ้าสลับนั้น จะใช้วิธีการตรวจจับสนามแม่เหล็กเหนี่ยวนำที่เกิดขึ้นรอบสายไฟฟ้า แล้วนำสัยญาณที่ตรวจจับได้ไปแปลงเป็นค่าที่สามารถอ่านค่าได้ แต่ในการวัดค่ากระแสไฟ DC จะไม่สามารถใช้วิธีการเดียวกันได้ ดูรายละเอียด >>

    วิธีการวัดค่ากระแสรั่วไหล

    การวัดค่าจะทำให้ 2 วิธีดังนี้ 1. วัดค่ากระแส (lg) ที่ไหลผ่านสายดินลงสู่พื้นดินโดยตรง แล้วอ่านค่า 2. วัดค่าโดยการเปรีียบเทีียบปริมาณกระแสไฟฟ้าที่เข้าและออกจากเครื่องใช้ โดยคล้องมิเตอร์เข้ากับสายไฟทั้ง ดูรายละเอียด >>

    วิธีการใช้แคล้มป์มิเตอร์วัดกระแสรั่วไหลของ KEW

    หาก RCD มีการทริป ให้ต่อสายเข้ามา RCD ชั่วคราว แล้วคีบแคล้มป์มิเตอร์วัดกระแสรั่วไหลรอบสายเฟสกับสายนิวทรัลที่ด้านตัวจ่ายพลังงานของ RCD (สำหรับระบบ 33 เฟส ควรคีบแคล้มป์มิเตอร์รอบสายไฟตัวนำที่มีไฟฟ้า) ดูรายละเอียด >>

  • ทำไมการทดสอบความเป็นฉนวนจึงมีความจำเป็น?

    ขั้วต่อที่มีไฟฟ้าไหลอยู่ทั้งหมดของเครื่องใช้ไฟฟ้าและการตัิดตั้งจะต้องหุ่มฉนวนเพื่อป้องกันอันตรายจากไฟดูดที่เกิดจากการสัมผัสโดยไม่ตั้งใจ หรือป้องกันอันตรายจากไฟไหม้ที่เกิดจากไฟฟ้าลัดวงจรและตความเสียหายของอุปกรณ์ ดูรายละเอียด >>

    วิธีการวัดค่าความเป็นฉนวนไฟฟ้า

    เมื่อเกิดกระแสไฟฟ้ารั่วไหล ต้องป้องกัน RCD จะตัดระบบไฟฟ้าที่รั่วไหลออกจากแหล่่งจ่ายไฟฟ้า เพื่อป้องกันอันตรายที่จะเกิดกับผู้ใช้งานการตรวจจับกระแสรั่วไหลนี้ บ. kyoritsu มีแคล้มป์มิเตอร์ที่สามารถตรวจจับได้ ดูรายละเอียด >>

    หลักการของการวัดสภาพต้านทานดิน

    หลักการของการวัดสภาพต้านทานดิน ตามวิธีการ 4 ขั้วของเวนเนอร์ ให้ใช้กระแส AC "I" ระหว่าง "E" (หลักดิน) และ "H(C)" (ขั้วกระแสไฟฟ้า) เพื่อหาความต่างศักย์ "V" ระหว่างขั้วศักย์ไฟฟ้า "S(P)" และหลักดินเสริม "ES" ดูรายละเอียด >>

  • หลักการวัดความต้านทานดินแบบแคล้มป์

    เครื่องวัดนี้จะทำการวัดความต้านทานดินต่อพื้นดิน ในแบบการต่อลงดินหลายจุด จากรูปจะให้ความทานดินของจุดที่ทำการทดสอบเป็น Rx และความต้านทานดินของจุดอื่นๆ เป็น R1, R2, ดูรายละเอียด >>

    วิธีการทดสอบความถูกต้องของลูป Loop Testing

    หลักการของการวัดสภาพต้านทานดิน ตามวิธีการ 4 ขั้วของเวนเนอร์ ให้ใช้กระแส AC "I" ระหว่าง "E" (หลักดิน) และ "H(C)" (ขั้วกระแสไฟฟ้า) เพื่อหาความต่างศักย์ "V" ระหว่างขั้วศักย์ไฟฟ้า "S(P)" และหลักดินเสริม "ES" ดูรายละเอียด >>

    สายนิวทรัล-ไลน์-สายดิน

    ต่อสายวัด "หลัก (PRIMARY)" ของตัวต่อสายสัญญาณเข้ากับตำแหน่งนิวทรัลของสายส่ง RCD และต่อสายวัด "รอง (SECONDARY)" ของตัวต่อสายสัญญาณเข้ากับตำแหน่งไลน์ของสายโหลด RCD ดูรายละเอียด >>

บริษัท สุพรีมไลนส์ จำกัด Supremelines co.,Ltd  บทความและสาระน่ารู้  ติดต่อเราสุพรีมไลนส์ 

ศูนย์รวมเครื่องมือวัดและควบคุมแบบอัตโนมัติ ทางด้านอุตสาหกรรม ทุกชนิด

" จากประสบการณ์ที่ยาวนาน ในวงการขายการนำเข้าเครื่องมือวัด และควบคุมแบบอัตโนมัติ ทางด้านอุตสาหกรรม ด้วยทีมงานเชี่ยวชาญ พร้อมให้คำปรึกษาบริการก่อนและหลังการขาย คุณภาพดี มีมาตรฐาน "

บริษัท สุพรีมไลนส์ จำกัด เป็นตัวแทนจำหน่ายอุปกรณ์ยี่ห้อ "KYORITSU" อาทิ มัลติมิเตอร์,อนาล็อคมัลติมิเตอร์,ดิจิตอลมัลติมิเตอร์,แคล้มป์มิเตอร์,อนาล็อคแคล้มป์มิเตอร์,ดิจิตอลแคล้มป์มิเตอร์,เครื่องทดสอบค่าความเป็นฉนวนไฟฟ้า,เครื่องวัดค่าความต้านทานดิน, มิเตอร์สอบความต้านทานลูป,เครื่องบันทึกข้อมูลกระแสรั่วไหล,มิเตอร์ทดสอบอเนกประสงค์,เครื่องวัดค่าความต้านทานดิน,เครื่องวัดพลังงานไฟฟ้า,เครื่องทดสอบสถานะทางเฟสไฟฟ้า,แคล้มป์อแดปเตอร์,เซนเซอร์จับโวลต์,เครื่องวัดแสงแบบดิจิตอล

Contact us บริษัท สุพรีมไลนส์ จำกัด