• มัลติมิเตอร์ Multimeters
  • แคล้มป์มิเตอร์ Clamp Meters
  • เครื่องทดสอบค่าความเป็นฉนวนไฟฟ้า Insulation Testers
  • เครื่องวัดค่าความต้านทานดิน Earth Testers
  • เครื่องวัดความต้านทานลูป Loop/psc/rcd testers
  • เครื่องบันทึกข้อมูลกระแสรั่วไหล Loggers
  • มิเตอร์ทดสอบอเนกประสงค์ Multi Function Testers
  • เครื่องวัดพลังงานไฟฟ้า Power Meters
  • เครื่องทดสอบสถานะทางเฟสไฟฟ้า Phase Testers
  • แคล้มป์เซนเซอร์ Sensors
  • เครื่องวัดแสงแบบดิจิตอล Others
  • ดิจิตอลแคล้มป์มิเตอร์สำหรับวัด New Dc Milliamp Clamp Mete

Kyoritsu Load Current Clamp Sensors

เคียวริทสึ แคลมป์เซ็นเซอร์

kyoritsu-thailand

Kyoritsu Load Current Clamp Sensors: in order to monitor energy saving and to control the electric facilities, it is essential and imperative to control the leak and load currents from mains and branch power lines up to the equipment. Clamp sensor is easy to carry and simple to install.


Load current clamp sensors 8121
Kyoritsu Load Current 8121

Load current clamp sensors 8122
Kyoritsu Load Current 8122

Load current clamp sensors 8123
Kyoritsu Load Current 8123

Load current clamp sensors 8124
Kyoritsu Load Current 8124

Load current clamp sensors 8125
Kyoritsu Load Current 8125

Load current clamp sensors 8126
Kyoritsu Load Current 8126

Load current clamp sensors 8127
Kyoritsu Load Current 8126

Load current clamp sensors 8128
Kyoritsu Load Current 8128
  • การวัดค่า True RMS (Root Mean Square: ค่าเฉลี่ยกำลังสอง)

    เมื่อความผิดเพี้ยนของสัญญาณไม่มีผลกระทบต่อกระแสไฟที่โหลด แคล้มป์มิเตอร์ทั้งแบบค่าเฉลี่ย (Average) และแบบค่าจริง (True RMS) จะวัดค่าได้ใกล้เคียงกันมาก คือ ประมาณ 10A โดยมีรูปคลื่นคงตัวดังตัวอย่างข้างบน ดูรายละเอียด >>

    แคล้มป์มิเตอร์คืออะไร?

    แคล้มป์มิเตอร์เป็นเครื่องมือทางไฟฟ้าชนิดเหนึ่ง ซึ่งใช้สำหรับวัดค่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจรได้อย่างรวดเร็ว แม่นยำ โดยไม่ต้องดับไฟหรือหยุดการทำงานของอุปกรณ์ไฟฟ้า ในการวัดกระแสไฟฟ้านั้น หากเราใช้เครื่องมือชนิดอื่น ดูรายละเอียด >>

    แคล้มป์มิเตอร์ทำงานอย่างไร?

    ในกรณีที่เป็นแคล้มป์มิเตอร์ที่ใช้วัดค่ากระแสไฟฟ้ากระแสสลับนั้น เมื่อคล้องมิเตอร์เข้ากัลสายไฟแล้ว ส่วนของปากคีบจะทำหน้าที่ตรวจจับสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นรอบสายไฟฟ้า (เสมือนเป็นหม้อแปลงกระแสไฟฟ้า Current Transformer) ดูรายละเอียด >>

  • หลักการทำงาน AC/DC แคล้มป์มิเตอร์

    ในการวัดกระแสไฟฟ้าสลับนั้น จะใช้วิธีการตรวจจับสนามแม่เหล็กเหนี่ยวนำที่เกิดขึ้นรอบสายไฟฟ้า แล้วนำสัยญาณที่ตรวจจับได้ไปแปลงเป็นค่าที่สามารถอ่านค่าได้ แต่ในการวัดค่ากระแสไฟ DC จะไม่สามารถใช้วิธีการเดียวกันได้ ดูรายละเอียด >>

    วิธีการวัดค่ากระแสรั่วไหล

    การวัดค่าจะทำให้ 2 วิธีดังนี้ 1. วัดค่ากระแส (lg) ที่ไหลผ่านสายดินลงสู่พื้นดินโดยตรง แล้วอ่านค่า 2. วัดค่าโดยการเปรีียบเทีียบปริมาณกระแสไฟฟ้าที่เข้าและออกจากเครื่องใช้ โดยคล้องมิเตอร์เข้ากับสายไฟทั้ง ดูรายละเอียด >>

    วิธีการใช้แคล้มป์มิเตอร์วัดกระแสรั่วไหลของ KEW

    หาก RCD มีการทริป ให้ต่อสายเข้ามา RCD ชั่วคราว แล้วคีบแคล้มป์มิเตอร์วัดกระแสรั่วไหลรอบสายเฟสกับสายนิวทรัลที่ด้านตัวจ่ายพลังงานของ RCD (สำหรับระบบ 33 เฟส ควรคีบแคล้มป์มิเตอร์รอบสายไฟตัวนำที่มีไฟฟ้า) ดูรายละเอียด >>

  • ทำไมการทดสอบความเป็นฉนวนจึงมีความจำเป็น?

    ขั้วต่อที่มีไฟฟ้าไหลอยู่ทั้งหมดของเครื่องใช้ไฟฟ้าและการตัิดตั้งจะต้องหุ่มฉนวนเพื่อป้องกันอันตรายจากไฟดูดที่เกิดจากการสัมผัสโดยไม่ตั้งใจ หรือป้องกันอันตรายจากไฟไหม้ที่เกิดจากไฟฟ้าลัดวงจรและตความเสียหายของอุปกรณ์ ดูรายละเอียด >>

    วิธีการวัดค่าความเป็นฉนวนไฟฟ้า

    เมื่อเกิดกระแสไฟฟ้ารั่วไหล ต้องป้องกัน RCD จะตัดระบบไฟฟ้าที่รั่วไหลออกจากแหล่่งจ่ายไฟฟ้า เพื่อป้องกันอันตรายที่จะเกิดกับผู้ใช้งานการตรวจจับกระแสรั่วไหลนี้ บ. kyoritsu มีแคล้มป์มิเตอร์ที่สามารถตรวจจับได้ ดูรายละเอียด >>

    หลักการของการวัดสภาพต้านทานดิน

    หลักการของการวัดสภาพต้านทานดิน ตามวิธีการ 4 ขั้วของเวนเนอร์ ให้ใช้กระแส AC "I" ระหว่าง "E" (หลักดิน) และ "H(C)" (ขั้วกระแสไฟฟ้า) เพื่อหาความต่างศักย์ "V" ระหว่างขั้วศักย์ไฟฟ้า "S(P)" และหลักดินเสริม "ES" ดูรายละเอียด >>

  • หลักการวัดความต้านทานดินแบบแคล้มป์

    เครื่องวัดนี้จะทำการวัดความต้านทานดินต่อพื้นดิน ในแบบการต่อลงดินหลายจุด จากรูปจะให้ความทานดินของจุดที่ทำการทดสอบเป็น Rx และความต้านทานดินของจุดอื่นๆ เป็น R1, R2, ดูรายละเอียด >>

    วิธีการทดสอบความถูกต้องของลูป Loop Testing

    หลักการของการวัดสภาพต้านทานดิน ตามวิธีการ 4 ขั้วของเวนเนอร์ ให้ใช้กระแส AC "I" ระหว่าง "E" (หลักดิน) และ "H(C)" (ขั้วกระแสไฟฟ้า) เพื่อหาความต่างศักย์ "V" ระหว่างขั้วศักย์ไฟฟ้า "S(P)" และหลักดินเสริม "ES" ดูรายละเอียด >>

    สายนิวทรัล-ไลน์-สายดิน

    ต่อสายวัด "หลัก (PRIMARY)" ของตัวต่อสายสัญญาณเข้ากับตำแหน่งนิวทรัลของสายส่ง RCD และต่อสายวัด "รอง (SECONDARY)" ของตัวต่อสายสัญญาณเข้ากับตำแหน่งไลน์ของสายโหลด RCD ดูรายละเอียด >>

บริษัท สุพรีมไลนส์ จำกัด Supremelines co.,Ltd  บทความและสาระน่ารู้  ติดต่อเราสุพรีมไลนส์ 

ศูนย์รวมเครื่องมือวัดและควบคุมแบบอัตโนมัติ ทางด้านอุตสาหกรรม ทุกชนิด

" จากประสบการณ์ที่ยาวนาน ในวงการขายการนำเข้าเครื่องมือวัด และควบคุมแบบอัตโนมัติ ทางด้านอุตสาหกรรม ด้วยทีมงานเชี่ยวชาญ พร้อมให้คำปรึกษาบริการก่อนและหลังการขาย คุณภาพดี มีมาตรฐาน "

บริษัท สุพรีมไลนส์ จำกัด เป็นตัวแทนจำหน่ายอุปกรณ์ยี่ห้อ "KYORITSU" อาทิ มัลติมิเตอร์,อนาล็อคมัลติมิเตอร์,ดิจิตอลมัลติมิเตอร์,แคล้มป์มิเตอร์,อนาล็อคแคล้มป์มิเตอร์,ดิจิตอลแคล้มป์มิเตอร์,เครื่องทดสอบค่าความเป็นฉนวนไฟฟ้า,เครื่องวัดค่าความต้านทานดิน, มิเตอร์สอบความต้านทานลูป,เครื่องบันทึกข้อมูลกระแสรั่วไหล,มิเตอร์ทดสอบอเนกประสงค์,เครื่องวัดค่าความต้านทานดิน,เครื่องวัดพลังงานไฟฟ้า,เครื่องทดสอบสถานะทางเฟสไฟฟ้า,แคล้มป์อแดปเตอร์,เซนเซอร์จับโวลต์,เครื่องวัดแสงแบบดิจิตอล

Contact us บริษัท สุพรีมไลนส์ จำกัด