• มัลติมิเตอร์ Multimeters
  • แคล้มป์มิเตอร์ Clamp Meters
  • เครื่องทดสอบค่าความเป็นฉนวนไฟฟ้า Insulation Testers
  • เครื่องวัดค่าความต้านทานดิน Earth Testers
  • เครื่องวัดความต้านทานลูป Loop/psc/rcd testers
  • เครื่องบันทึกข้อมูลกระแสรั่วไหล Loggers
  • มิเตอร์ทดสอบอเนกประสงค์ Multi Function Testers
  • เครื่องวัดพลังงานไฟฟ้า Power Meters
  • เครื่องทดสอบสถานะทางเฟสไฟฟ้า Phase Testers
  • แคล้มป์เซนเซอร์ Sensors
  • เครื่องวัดแสงแบบดิจิตอล Others
  • ดิจิตอลแคล้มป์มิเตอร์สำหรับวัด New Dc Milliamp Clamp Mete

ประเภทสินค้า Kyoritsu ทั้งหมด

(kyoritsu-thailand.net)

Kyoritsu Thailand


มัลติมิเตอร์ (Multimeter)

เครื่องมือชนิดหนึ่งของช่างไฟฟ้า – วิทยุโทรทัศน์และช่างอิเล็กทรอนิกส์ ใช้สำหรับวัดแรงดันไฟฟ้าหรือแรงเคลื่อนไฟฟ้า วัดกระแสไฟฟ้าและวัดค่าความต้านทานเป็นต้น แต่เดิมเครื่องมือวัดพวกนี้จะแยกชุดออกจากกัน เช่น สำหรับไฟ AC หรือไฟสลับก็เรียกว่า เอ ซี โวลท์มิเตอร์ (AC volt meter) หรือใช้วัดค่าความต้านทานก็เรียกว่า โอห์มมิเตอร์ (ohm meter) เป็นต้น


แคล้มป์มิเตอร์ (Clamp Meter)

เครื่องวัดไฟฟ้าที่มีส่วนประกอบยึดกระเส AC เป็นที่รู้จักกันในชื่อเครื่องหนีบ , แคล้มป์บนแอมมิเตอร์หรือ tongtester เพื่อที่จะใช้ยึดเครื่องเพียงหนึ่งตัวนำผ่านตามปกติผ่านการสอบสวน ถ้ามากกว่าหนึ่งตัวนำจะถูกส่งผ่านการวัดจะเป็นผลรวมของเวกเตอร์ของกระแสที่ไหลในตัวนำไฟฟ้าและจะขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ของเฟสของกระแส


เครื่องทดสอบค่าความเป็นฉนวนไฟฟ้า (Insulation Tester)

เครื่องวัดไฟฟ้าที่มีส่วนประกอบยึดกระเส AC เป็นที่รู้จักกันในชื่อเครื่องหนีบ,แคล้มป์บนแอมมิเตอร์หรือ tongtester เพื่อที่จะใช้ยึดเครื่องเพียงหนึ่งตัวนำผ่านตามปกติผ่านการสอบสวน ถ้ามากกว่าหนึ่งตัวนำจะถูกส่งผ่านการวัดจะเป็นผลรวมของเวกเตอร์ของกระแสที่ไหลในตัวนำไฟฟ้าและจะขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ของเฟสของ กระแส


เครื่องวัดความต้านทานดิน (Earth Ground Tester)

เครื่องวัดความต้านทาน ของเครื่องกราวด์หรือสายดิน Earth Tester คือ มิเตอร์ที่ใช้วัดความต้านทานของดินที่อยู่ระหว่างปลายล่างสุดของแท่งกราวด์ (แท่งทองแดง ยาว1 ถึง 3เมตร) กับจุดความต้านทานของดินเป็นศูนย์ (Rearth = 0Ω Common Ground) ซึ่งอยู่ลึกลงไปใต้แท่งกราวด์ ลึกเท่าไรขึ้นแต่ละสถานที่ตามมาตรฐาน IEC ค่าความต้านทานของแท่นกราวด์สายดิน Rg ควรจะน้อยกว่า 5 Ω


มิเตอร์สอบความต้านทานลูป (LOOP/PSC/RCD Tester)


เครื่องบันทึกข้อมูลกระแสรั่วไหล (Loggers)

มิเตอร์บันทึกค่าล๊อคเกอร์ Loggers ของ Kyoritsu ใช้บันทึก 3 ค่า โดยมี 3 Input channels คือบันทึกกระแสรั่วไหล กระแสโหลดและแรงดันไฟฟ้าพร้อมๆกัน


มิเตอร์ทดสอบเอนกประสงค์ (Multifunction Tester)

มัลติฟังก์ชั่น มิเตอร์วัดค่าความเป็นฉนวนไฟฟ้า Digital Insulation Tester + มิเตอร์วัดค่าความต่อเนื่อง Continuity Tester + มิเตอร์วัดค่าความต้านทานของระบบลูป (Loop Resistance Tester) และ RCDs ได้ในตัวเดียวกัน คือ ค่าความเป็นฉนวน + ค่าความต่อเนื่อง + ค่าความต้านทานของสายดิน (Earth Loop Impedance) + ค่า PSD, Prospective Short Circuit Current หรือค่ากระแสลัดวงจร ณ จุดวัด (ถ้าเกิด fault ลงดิน) + ค่าเวลาที่ใช้ในอุปกรณ์ป้องกันไฟรั่ว RCD/ELCB ใช้ในการทริปตัดวงจร


เครื่องวัดพลังงานไฟฟ้า (Power Meter)

เครื่องวัดไฟฟ้า เป็นเครื่องมือที่จำเป็นและเป็นพื้นฐานในการเรียนวิชาชีพช่างไฟฟ้างานเครื่องวัดไฟฟ้าจึงควรเรียนรู้หลกัการเบื้องต้นเสียก่อน เพื่อใหเ้หมาะสมกับประเภทของงานการอ่านค่าจากเครื่องวัดไฟฟ้าอาจเกิดการผิดพลาดเนื่องจากเกิดการคลาดเคลื่อนการอ่านค่าสเกลผอดอาจเกิดความเสียหายได้


เครื่องทดสอบสถานะทางเฟสไฟฟ้า (Phase Tester)

ปัจจุบันระบบไฟฟ้าที่ใช้งานกันอยุู่นั้นจะมีหลักๆ อยู่สอบแบบคือ ระบบ 1 เฟส และ ระบบ 3 เฟส ซึ่งระบบ 1 เฟส นั้นการใช้งานคงไม่มีปํญหาอะไรเนื่องจากกการต่อใช้งานก็จะมี 2 สายเท่านั้นคือ Line และ Newteol


แคล้มป์เซนเซอร์ (Sensor)

อุปกรณ์ตรวจจับสัญญาณ หรือปริมาณทางฟิสิกส์ต่างๆ เช่น อุณหภูมิ เสียง แสง แรงทางกล (force) ความดันบรรยากาศ (pressure) ระยะกระจัด (displacement) ความเร็ว (speed) อัตราเร่ง (acceleration) ระดับของๆเหลว (liquid level) และอัตราการไหล (flow rate) จากนั้นจะทำหน้าที่เปลี่ยนเป็นสัญญาณออกหรือปริมาณเอาต์พุตที่ได้จากการวัดในอีกรูปแบบหนึ่งที่สามรถนำไปประมวลผลต่อได้


เครื่องวัดแสงแบบดิจิตอล (Other)

เครื่องวัดแสงแบบดิจิตอล หรือ เครื่องวัดแสง (LUX METER) เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดค่าความสว่างในพื้นที่ต่างๆ ตามความต้องการของผู้ใช้งานซึ่งค่าความสว่างของแต่ละพื้นที่นั้น มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการใช้งานของพื้นที่นั้นๆ ยกตัวอย่างเช่น ในพื้นที่ตั้งเครื่องจักต่างๆ ในวานที่เกี่ยวกัยการถ่ายภาพ และในห้องทำงาน ซึ่งแต่ละพื้นที่ก็ต้องการแสงสว่างที่เหมาะสมต่างกันไป

  • การวัดค่า True RMS (Root Mean Square: ค่าเฉลี่ยกำลังสอง)

    เมื่อความผิดเพี้ยนของสัญญาณไม่มีผลกระทบต่อกระแสไฟที่โหลด แคล้มป์มิเตอร์ทั้งแบบค่าเฉลี่ย (Average) และแบบค่าจริง (True RMS) จะวัดค่าได้ใกล้เคียงกันมาก คือ ประมาณ 10A โดยมีรูปคลื่นคงตัวดังตัวอย่างข้างบน ดูรายละเอียด >>

    แคล้มป์มิเตอร์คืออะไร?

    แคล้มป์มิเตอร์เป็นเครื่องมือทางไฟฟ้าชนิดเหนึ่ง ซึ่งใช้สำหรับวัดค่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจรได้อย่างรวดเร็ว แม่นยำ โดยไม่ต้องดับไฟหรือหยุดการทำงานของอุปกรณ์ไฟฟ้า ในการวัดกระแสไฟฟ้านั้น หากเราใช้เครื่องมือชนิดอื่น ดูรายละเอียด >>

    แคล้มป์มิเตอร์ทำงานอย่างไร?

    ในกรณีที่เป็นแคล้มป์มิเตอร์ที่ใช้วัดค่ากระแสไฟฟ้ากระแสสลับนั้น เมื่อคล้องมิเตอร์เข้ากัลสายไฟแล้ว ส่วนของปากคีบจะทำหน้าที่ตรวจจับสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นรอบสายไฟฟ้า (เสมือนเป็นหม้อแปลงกระแสไฟฟ้า Current Transformer) ดูรายละเอียด >>

  • หลักการทำงาน AC/DC แคล้มป์มิเตอร์

    ในการวัดกระแสไฟฟ้าสลับนั้น จะใช้วิธีการตรวจจับสนามแม่เหล็กเหนี่ยวนำที่เกิดขึ้นรอบสายไฟฟ้า แล้วนำสัยญาณที่ตรวจจับได้ไปแปลงเป็นค่าที่สามารถอ่านค่าได้ แต่ในการวัดค่ากระแสไฟ DC จะไม่สามารถใช้วิธีการเดียวกันได้ ดูรายละเอียด >>

    วิธีการวัดค่ากระแสรั่วไหล

    การวัดค่าจะทำให้ 2 วิธีดังนี้ 1. วัดค่ากระแส (lg) ที่ไหลผ่านสายดินลงสู่พื้นดินโดยตรง แล้วอ่านค่า 2. วัดค่าโดยการเปรีียบเทีียบปริมาณกระแสไฟฟ้าที่เข้าและออกจากเครื่องใช้ โดยคล้องมิเตอร์เข้ากับสายไฟทั้ง ดูรายละเอียด >>

    วิธีการใช้แคล้มป์มิเตอร์วัดกระแสรั่วไหลของ KEW

    หาก RCD มีการทริป ให้ต่อสายเข้ามา RCD ชั่วคราว แล้วคีบแคล้มป์มิเตอร์วัดกระแสรั่วไหลรอบสายเฟสกับสายนิวทรัลที่ด้านตัวจ่ายพลังงานของ RCD (สำหรับระบบ 33 เฟส ควรคีบแคล้มป์มิเตอร์รอบสายไฟตัวนำที่มีไฟฟ้า) ดูรายละเอียด >>

  • ทำไมการทดสอบความเป็นฉนวนจึงมีความจำเป็น?

    ขั้วต่อที่มีไฟฟ้าไหลอยู่ทั้งหมดของเครื่องใช้ไฟฟ้าและการตัิดตั้งจะต้องหุ่มฉนวนเพื่อป้องกันอันตรายจากไฟดูดที่เกิดจากการสัมผัสโดยไม่ตั้งใจ หรือป้องกันอันตรายจากไฟไหม้ที่เกิดจากไฟฟ้าลัดวงจรและตความเสียหายของอุปกรณ์ ดูรายละเอียด >>

    วิธีการวัดค่าความเป็นฉนวนไฟฟ้า

    เมื่อเกิดกระแสไฟฟ้ารั่วไหล ต้องป้องกัน RCD จะตัดระบบไฟฟ้าที่รั่วไหลออกจากแหล่่งจ่ายไฟฟ้า เพื่อป้องกันอันตรายที่จะเกิดกับผู้ใช้งานการตรวจจับกระแสรั่วไหลนี้ บ. kyoritsu มีแคล้มป์มิเตอร์ที่สามารถตรวจจับได้ ดูรายละเอียด >>

    หลักการของการวัดสภาพต้านทานดิน

    หลักการของการวัดสภาพต้านทานดิน ตามวิธีการ 4 ขั้วของเวนเนอร์ ให้ใช้กระแส AC "I" ระหว่าง "E" (หลักดิน) และ "H(C)" (ขั้วกระแสไฟฟ้า) เพื่อหาความต่างศักย์ "V" ระหว่างขั้วศักย์ไฟฟ้า "S(P)" และหลักดินเสริม "ES" ดูรายละเอียด >>

  • หลักการวัดความต้านทานดินแบบแคล้มป์

    เครื่องวัดนี้จะทำการวัดความต้านทานดินต่อพื้นดิน ในแบบการต่อลงดินหลายจุด จากรูปจะให้ความทานดินของจุดที่ทำการทดสอบเป็น Rx และความต้านทานดินของจุดอื่นๆ เป็น R1, R2, ดูรายละเอียด >>

    วิธีการทดสอบความถูกต้องของลูป Loop Testing

    หลักการของการวัดสภาพต้านทานดิน ตามวิธีการ 4 ขั้วของเวนเนอร์ ให้ใช้กระแส AC "I" ระหว่าง "E" (หลักดิน) และ "H(C)" (ขั้วกระแสไฟฟ้า) เพื่อหาความต่างศักย์ "V" ระหว่างขั้วศักย์ไฟฟ้า "S(P)" และหลักดินเสริม "ES" ดูรายละเอียด >>

    สายนิวทรัล-ไลน์-สายดิน

    ต่อสายวัด "หลัก (PRIMARY)" ของตัวต่อสายสัญญาณเข้ากับตำแหน่งนิวทรัลของสายส่ง RCD และต่อสายวัด "รอง (SECONDARY)" ของตัวต่อสายสัญญาณเข้ากับตำแหน่งไลน์ของสายโหลด RCD ดูรายละเอียด >>

บริษัท สุพรีมไลนส์ จำกัด Supremelines co.,Ltd  บทความและสาระน่ารู้  ติดต่อเราสุพรีมไลนส์ 

ศูนย์รวมเครื่องมือวัดและควบคุมแบบอัตโนมัติ ทางด้านอุตสาหกรรม ทุกชนิด

" จากประสบการณ์ที่ยาวนาน ในวงการขายการนำเข้าเครื่องมือวัด และควบคุมแบบอัตโนมัติ ทางด้านอุตสาหกรรม ด้วยทีมงานเชี่ยวชาญ พร้อมให้คำปรึกษาบริการก่อนและหลังการขาย คุณภาพดี มีมาตรฐาน "

บริษัท สุพรีมไลนส์ จำกัด เป็นตัวแทนจำหน่ายอุปกรณ์ยี่ห้อ "KYORITSU" อาทิ มัลติมิเตอร์,อนาล็อคมัลติมิเตอร์,ดิจิตอลมัลติมิเตอร์,แคล้มป์มิเตอร์,อนาล็อคแคล้มป์มิเตอร์,ดิจิตอลแคล้มป์มิเตอร์,เครื่องทดสอบค่าความเป็นฉนวนไฟฟ้า,เครื่องวัดค่าความต้านทานดิน, มิเตอร์สอบความต้านทานลูป,เครื่องบันทึกข้อมูลกระแสรั่วไหล,มิเตอร์ทดสอบอเนกประสงค์,เครื่องวัดค่าความต้านทานดิน,เครื่องวัดพลังงานไฟฟ้า,เครื่องทดสอบสถานะทางเฟสไฟฟ้า,แคล้มป์อแดปเตอร์,เซนเซอร์จับโวลต์,เครื่องวัดแสงแบบดิจิตอล

Contact us บริษัท สุพรีมไลนส์ จำกัด